บทความให้ความรู้

  • ทำความรู้จักเครื่องปั่นน้ำดิน

    แค่ได้ยินว่าต้องผสม-ปั่น-กวนวัตถุดิบ ก็รู้สึกเมื่อยแขนจนต้องเตรียมยานวดไว้ล่วงหน้า แต่นักปั่นทั้งหลายไม่ต้องเบ้หน้ากันแล้วล่ะ เพราะในงานเซรามิกมีเครื่องมือทุ่นแรงที่เรียกว่า “เครื่องปั่นน้ำดิน” เป็นผู้ช่วยที่นักปั้นจะเลิฟสุดใจอย่างแน่นอน
  • เช็คให้ครบ 10 ขั้นตอนผลิตเซรามิกต้องทำ

    หนึ่งชิ้นงานเซรามิกไม่ว่าจะเป็นชิ้นเล็กหรือใหญ่ ล้วนต้องผ่านกระบวนการผลิตมากมายถึง 10 ขั้นตอน เพราะหากขาดไปเพียงหนึ่งอาจทำให้ชิ้นงานออกมาตรงข้ามกับที่หวังไว้ ลองมาเช็คกันดูดีกว่าว่า มีขั้นตอนไหนที่คุณพลาดไปหรือเปล่า
  • สารพัดวิธีเคลือบงานเซรามิก

    เพราะคนเราถนัดต่างกัน และยังมีความต้องการสร้างสรรค์ผลงานที่ต่างกันออกไป แล้วทำไมต้องจำกัดการเคลือบงานเซรามิกด้วยวิธีเดียวเท่านั้นล่ะ...จริงไหม!? ที่สำคัญศิลปินทั้งหลายยังได้สร้างทางเลือกในการเคลือบงานเซรามิกไว้เพียบ
  • Color stain สีที่ใช้กับงานเซรามิก

    สีน้ำใช้กับงานเซรามิกได้ไหม แล้วสีอะคริลิคที่เนื้อสีดูแน่นๆ ล่ะใช้ได้หรือเปล่า เอ...สมัยก่อนที่วิวัฒนาการยังไม่ก้าวหน้า มนุษย์เราใช้สีแบบไหนกับภาชนะหรือเครื่องประดับกันละเนี่ย??
  • กว่า 400 ปี กับการถือกำเนิดเครื่องถ้วยรากุ

    นับจากศตวรรษที่ 1550-1850 พิธีชงชาเป็นสิ่งสำคัญและมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตชาวญี่ปุ่นอย่างมาก ซึ่งสิ่งที่สร้างสรรค์ขึ้นมาคู่กับพิธีชาคือ ถ้วยชา
  • ทำความรู้จักการเผาตกแต่ง

    เคยได้ยินคำว่า “การเผาตกแต่ง (Decoration Firing)” ไหมคะ คำๆ นี้เข้าใจไม่ยากค่ะ มันคือ การที่ชิ้นงานซึ่งเผาเคลือบแล้วได้รับการตกแต่งด้วยสีหรือติดรูปลอก (Decal) ที่ทำขึ้นสำหรับตกแต่งสีโดยเฉพาะบนภาชนะที่เคลือบแล้วนำไปเผา เพื่อให้สิ่งตกแต่งติดทนกับชิ้นงาน ซึ่งเรียกว่า ‘การตกแต่งบนเคลือบ (Over Glaze Decoration)’
  • ประหยัดไฟได้อีกทางกับ TOU อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลา

    อีกช่องทางหนึ่งที่นักปั้นเซรามิกควรรู้เพื่อช่วยให้ภาระค่าใช้จ่ายลดลงได้ทางหนึ่งคือ การประหยัดค่าไฟโดยการใช้อัตราค่าไฟฟ้า ‘TOU’ ซึ่งเป็นอัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของการใช้งาน แต่ TOU มีวิธีการคิดค่าไฟยังไง บอกเลยว่าไม่ยาก
  • สุดยอดส่วนผสมไพโรเมตริกโคน

    สำหรับใครที่อยากรู้ว่า ส่วนผสมของโคนอะไร คำตอบคือ ดิน ควอตช์ พวกด่างและออกไซด์ของโลหะต่างๆ บดผสมกันตามอัตราส่วนหรือตามสูตรที่ได้ทดลองจนได้ผลเป็นที่แน่นอน อัดเป็นรูปโคนคล้ายพีระมิดฐานสามเหลี่ยมยาวด้านละ 17 มิลลิเมตร สูง 60 มิลลิเมตร สูง 31 มิลลิเมตร ใช้กันเฉพาะในห้องปฏิบัติการ การวัดอุณหภูมิโดยการดูการโค้งงอของโคน
  • สีสะเตนที่ใช้กับเคลือบ (Glaze Stain)

    สีสะเตนที่ใช้กับเคลือบจะต้องผ่านการเผาที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิการเผาของเผาเคลือบ เพื่อสีไม่หายหลังการเผา นอกจากนี้สียังต้องเข้ากันได้ดีกับเคลือบที่เลือกใช้ด้วย สีจึงจะปรากฏได้อย่างที่ตั้งใจ
  • การเผาครั้งเดียวคืออะไร?

    วันนี้ Pottery Clay จะพาทุกคนไปรู้จักกับรูปแบบหนึ่งของการเผาเซรามิก นั่นคือ ‘การเผาครั้งเดียว (One Firing)’ หรือเรียกว่าการเผาไฟเดียว ซึ่งเป็นการเผาชิ้นงานตั้งแต่เป็นดินแห้งจนกระทั่งสุกตัวด้วยไฟสูงในทีเดียว
  • อ่านค่า "ไพโรเมตริกโคน" ไม่ยากอย่างที่คิด

    Pottery Clay เคยแนะนำทุกคนให้รู้จักกับ เครื่องมือวัดอุณหภูมิที่มีชื่อเรียกว่า ‘ไพโรเมตริกโคน’ กันมาแล้ว ครั้งนี้จะมาเล่ากันต่อ ถึงการอ่านค่าเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่ว่านี้ บอกตรงนี้เลยว่าอ่านไม่ยาก ลองมาดูกันเลย
  • Glaze Fountain คืออะไร

    ในชิ้นงานเซรามิกหนึ่งชิ้นอาจไม่ได้มีการเคลือบเพียงแค่ด้านนอกเท่านั้นนะคะ เพราะด้านในก็มีการเคลือบเช่นกัน ซึ่งหากต้องเคลือบแค่ชิ้นสองชิ้นคงใช้เวลาไม่นาน ค่อยๆ ทำไปได้เดี๋ยวก็เสร็จ แต่ถ้ามีออเดอร์มาเพียบล่ะจะทำยังไง ‘Glaze Fountain’ คือทางเลือกที่นักปั้นไม่ควรมองข้ามค่ะ